Rating: 2.6/5 (47 votes)
เทศกาลชมสวนอุทยานหลวงราชพฤกษ์ เทศกาลเชียงใหม่ ประเพณีภาคเหนือ จุดเริ่มจากความโด่งดังมาจากการจัดงานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ งานเทศกาลชมสวน หรือ Flora Festival ซึ่งจะจัดขึ้นในช่วงเดือนธันวาคมถึงกุมภาพันธ์ จะมีการจัดแสดงสวนสวยในรูปแบบต่าง ๆ โดยมีการตกแต่งด้วยไม้ประดับ และดอกไม้เมืองหนาวนานาพรรณจากโครงการหลวงกว่า 20 โครงการ และที่มีชื่อเสียงที่สุดคืออุทยานกล้วยไม้ และอุโมงค์ดอกไม้ที่เป็นจุดถ่ายภาพยอดนิยมของนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่
งานฤดูหนาวเชียงใหม่ และงานกาชาดเชียงใหม่ ประเพณีภาคเหนือจัดขึ้นช่วงปลายธันวาคมถึงต้นมกราคม เป็นอีกหนึ่งงานหนึ่งที่ขาดไม่ได้สำหรับที่นี่ เพราะเป็นงานมหกรรมสินค้าพื้นเมือง และงานออกร้านที่รวบรวมทั้งอาหารพื้นเมืองแสนอร่อย ของฝากของที่ระลึก และสินค้าโอท็อปของเชียงใหม่มาประชันกันอย่างคับคั่ง โดยมีไฮไลท์ของงานคือการประกวดนางสาวเชียงใหม่ รวมถึงการแสดงคอนเสิร์ตจากศิลปินชื่อดังมากมายที่มาร่วมส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่กันในงาน
งานเทศกาลร่มบ่อสร้างเชียงใหม่ และหัตถกรรมสันกำแพง ประเพณีภาคเหนือ เทศกาลเชียงใหม่ จะจัดขึ้นในช่วงเดือนมกราคมหลังจากจบงานฤดูหนาวเชียงใหม่ได้ไม่นาน เป็นการจัดงานในลักษณะของถนนคนเดินที่มีการออกร้าน และการตกแต่งบ้านเรือนด้วยร่มพื้นเมืองสีสันสวยงามตั้งแต่ทางเข้าหมู่บ้านไปจนถึงท้ายหมู่บ้านยาวกว่าหนึ่งกิโลเมตร นอกจากนี้ยังมีขบวนแห่รถประดับร่ม การประกวดธิดาบ่อสร้าง และการแสดงวัฒธรรมพื้นบ้าน
งานตรุษจีนไชน่าทาวน์เมืองเชียงใหม่ เทศกาลเชียงใหม่จะจัดในช่วงฉลองตรุษจีนประมาณปลายมกราคมหรือต้นกุมภาพันธ์ อีกหนึ่งงานที่เป็นความภูมิใจของชาวไทยเชื้อสายจีนจังหวัดเชียงใหม่ มีการออกร้านและประดับประดาโคมไฟแบบจีน มีการแสดงศิลปวัฒนธรรมจีน มีการประกวดตี๋-หมวยสวยเก่ง มีการประกวดมิสเชียงใหม่ไชน่าทาวน์ และอย่าลืมไปลิ้มรสอาหารจีนที่ภัตาคารจีนชื่อดังหลายร้านในเชียงใหม่เตรียมมาให้ชิมเพียบ
ประเพณีเข้าอินทขิล ประเพณีภาคเหนือ ประเพณีเข้าอินทขิล จะเป็นประเพณีที่ชาวเชียงใหม่ปฏิบัติ และสืบทอดกันมาช้านานแล้ว เมื่อถึงเดือนพฤษภาคมไปจนถึงต้นเดือนมิถุนายน ซึ่งตรงกับ วันแรม 13 ค่ำ เดือน 8 ซึ่งเรียกว่า “วันเข้าอินทขิล” ในระหว่างนี้ ชาวเชียงใหม่ จะร่วมกันประกอบพิธี บูชาอินทขิล ที่เป็นเสาหลักเมือง ซึ่งอยู่ที่วัดเจดีย์หลวง ใจกลางเมืองเชียงใหม่ การประกอบพิธีบูชาเสาอินทขิลนี้ก็เพื่อให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุขในบ้านเมือง
สงกรานต์ภาคเหนือ เทศกาลเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ที่มีผู้คนจากทั่วทุกสารทิศทั้งชาวไทยและชาวต่าง ชาติไปเที่ยวงานสงกรานต์มากเป็นอันดับต้น ๆ ของประเทศ และที่สำคัญที่นี่นั้นยังมากด้วยคนหนุ่มสาวหน้าตาดี ๆ เยอะแยะไปหมด ที่มาเที่ยวที่นี่ก็เลยสุขใจสบายตากันไปตามระเบียบนอกจากการเล่นน้ำสงกรานต์แล้ว นอกจากนี้ที่นี่ยังมีกิจกรรมสำคัญอื่นๆที่น่าสนใจอีกเพียบเลย ไม่ว่าจะเป็นการจัดขบวนแห่ และสรงน้ำพระพุทธสิหิงค์ ขี่รถถีบกาลางจ้อง การสาธิตศิลปะพื้นบ้าน การแสดงพื้นเมือง รดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ ขนทรายเข้าวัด การเล่นน้ำสงกรานต์ ปีใหม่เมืองรอบคูเมือง ถนนวัฒนธรรมคนเมืองอาหารนานาชาติ ฯลฯ
ประเพณีแห่ไม้ค้ำโพธิ์ ประเพณีภาคเหนือ ซึ่งจัดขึ้นในเดือนเมษายน ในวันที่ 15 เป็นต้นไป ของทุกปี ในบริเวณตัวเมืองจอมทอง มีขบวนรถจากชุมชน ห้างร้าน กลุ่มต่างๆ กว่า 40 ขบวน แห่ไปตามเมืองจอมทอง อำเภอจอมทอง จนถึง วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร นับเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมานานกว่า 200 ปี ตามตำนานเกิดขึ้นที่ อำเภอเภอจอมทอง และถือเป็นแห่งแรกของประเทศไทย และแห่งเดียวในโลก ประเพณีแห่ไม้ค้ำโพธิ์ นั้นกลายเป็นต้นแบบของการแห่ไม้ค้ำสะหลีของชาวล้านนา จนกระทั่งได้รับความนิยมไปทั่วภาคเหนือ และเป็นประเพณีที่เริ่มมีชื่อเสียงโด่งดัง และได้รับความนิยมอย่างมาก
มหกรรมไม้ดอกไม้ประดับ เทคศกาลเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ มีดินแดนถิ่นไทยงาม มีความสดสวยด้วยธรรมชาติ มีป่าเขาลําเนาไพร มีความพร้อมดอกไม้นานาพันธุ์ มีน้ำตก ต้นน้ำลําธารของแม่น้ำสายสําคัญ และความงามตามธรรมชาติ เพื่ออนุรักษ์ความงามตามธรรมชาติอันเป็นเอกลักษณ์ของเมืองเชียงใหม่ ชาวเชียงใหม่ จึงได้ร่วมกันปลูกพันธุ์ไม้ตามสถานที่ต่าง ๆ เพื่อสร้างจังหวัดเชียงใหม่ให้เป็น "เมืองดอกไม้บานตลอดปี" เป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยว และการส่งเสริมอาชีพให้กับเกษตรกรที่สําคัญอีกอย่างหนึ่ง จึงได้กําหนดให้มีการจัดงาน "มหกรรมไม้ดอกไม้ประดับ" ซึ่งถือเป็นงานประเพณีอันสําคัญอีกงานหนึ่งของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นที่จัดต่อเนื่องสืบทอดเป็นประจําทุกปี งานจะจัดขึ้นในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ ณ สวนสาธารณะหนองบวกหาด อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ในงานจะมีการประกวดนางงามบุปผชาติและขบวนแห่บุปผชาติ นิทรรศการทางการเกษตร การประกวดจัดสวน การประกวดไม้ดอกไม้ประดับประเภทต่าง ๆ และการออกร้านของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร
ประเพณีการเลี้ยงขันโตก ประเพณีของภาคเหนือ เป็นประเพณีเลี้ยงอาหารร่วมกันหลาย ๆ คน เป็นวัฒนธรรม และประเพณีของชาวเหนือที่สืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบันโดยเฉพาะที่เชียงใหม่ และลำพูน อาหารขันโตก ประกอบด้วย ข้าวนึ่งหรือข้าวเหนียว, ไส้อั่ว, แคบหมู, แกงอ่อม แกงฮังเล, น้ำพริกอ่อง, ลาบ และผักต่าง ๆ ตลอดจนของหวานต่าง ๆ ซึ่งอาหารเหล่านี้จะตักใส่ถ้วยเล็ก ๆ วางไว้ในขันโตกจนครบ แล้วใช้ฝาชีครอบไว้จนกว่าพิธีแห่ขันโตกจะเสร็จ การแห่ขันโตก
ประเพณีงานปอยหลวง ประเพณีภาคเหนือเป็นงานทำบุญเพื่อเฉลิมฉลองศาสนสมบัติต่าง ๆ เพื่อให้เกิดอานุสงส์แก่ตนและครอบครัว ถือว่าได้บุญกุศลแรงมาก นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องแสดงถึงความสามัคคีกลมเกลียวของคณะสงฆ์และชาวบ้านด้วยเพราะเป็นงานใหญ่ การทำบุญปอยหลวงที่นิยมทำกันคือทำบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้พ่อแม่ ปู่ย่าตายาย หรือญาติพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้วก็ได้ ช่วงเวลา จากเดือน 5 จนถึงเดือน 7 เหนือ (ตรงกับเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนเมษายนหรือเดือนพฤษภาคมของทุกปี) ระยะเวลาประมาณ 3-7 วัน
ประเพณีกินวอ ประเพณีภาคเหนือ ประเพณีปีใหม่ของชาวลาหู่ ซึ่งจะตรงกับเดือนมกราคมของทุก ๆ ปี ซึ่งประเพณีกินวอนี้ จะมีการทำขนม คือ ขาวปุก และมีการนำต้นสน 4 ต้นมาปลูกกลางลานของหมู่บ้านให้ได้เป็น 4 เหลี่ยม และมีการสานตระแกรงโดยใช้ไม้สานแล้วนำมาไว้ตรงกลางระหว่างต้นสนทั้ง 4 ต้น แล้วนำเอาอาหารที่ชาวบ้านถือว่าเป็นอาหารบวงสรวงมาไว้ที่ตะแกรงนั้น ซึ่งจะได้แก่ หัวหมู ข้าวปุก อาหารและดอกไม้ต่าง ๆ การจัดประเพณีกินวอของแต่ละหมู่บ้านให้ใกล้เคียงกับหมู่บ้านอื่นที่ใกล้เคียงกัน เพราะว่าเพื่อให้หมู่บ้านอื่น ๆ มาร่วมกันซึ่งจะเวียนกันไปแต่ละหมู่บ้านเริ่มพร้อมกัน และสิ้นสุดพร้อมกัน ในตอนกลางวันในวันที่มีการรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ในหมู่บ้าน
ประเพณีลอยพระอุปคุต ประเพณีภาคเหนือ ประเพณีของชาวไทยใหญ่ ในอำเภอแม่อาย จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 ของทุกปีตามความเชื่อของล้านนาและชาวไทยใหญ่เชื่อกันว่าพระอุปคุตนั้นสิงสถิตอยู่ใต้แม่น้ำ หรือสะดือทะเล การลอยบูชาจะเริ่มตั้งเเต่ ขึ้น 14 ค่ำ และวันขึ้น 15 ค่ำ โดยขบวนเเห่พระอุปคุตจะเริ่มตั้งเเต่วัดเเม่อายหลวง อ.เเม่อาย จ.เชียงใหม่ แล้วจึงนำไปลอยในเเม่น้ำกก ณ ท่าเรือบ้านท่าตอน หมู่ 3 ตำบลท่าตอน อำเภอเเม่อาย จังหวัดเชียงใหม่
ประเพณีโล้ชิงช้า หรืองานเทศกาลปีใหม่โล้ชิงช้าของชาวอาข่า (อีก้อ) ประเพณีภาคเหนือ จัดขึ้นในวันที่ 1 สิงหาคม 2557 - 30 กันยายน 2557 เป็นการรำลึกถึงพระคุณแห่งเทพธิดา "อึ่มซาแยะ" ผู้ประทานความชุ่มชื้นอุดมสมบูรณ์ให้กับพืชพันธุ์ธัญญาหาร และเพื่อเป็นการฉลองให้กับพืชผลที่มีความเจริญงอกงามรอเก็บเกี่ยว รำลึกและให้เกียรติสตรี พิธีเซ่นไหว้บรรพบุรุษ, การเลี้ยงฉลอง, การเต้นรำ ซึ่งแต่ละชุมชนจะไม่ตรงกัน เนื่องจากการกำหนดวันจัดพิธีกรรมต้องดูความเหมาะสมของวันที่จะเริ่มทำพิธี แต่จะต้องเป็นวันดีและเข้ากันได้กับผู้นำชุมชนนั้น ๆ
เทศกาลเชียงใหม่ ประเพณีภาคเหนือ
เทศกาลเชียงใหม่ ประเพณีภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่เป็นทั้งอู่อารยธรรมล้านนา ประเพณีไทย และเมืองแห่งพุทธศาสนา จึงเรียกได้ว่าเฟื่องฟูที่สุดแห่งหนึ่งในแดนสยาม โดยวิถีชีวิตของชาวเชียงใหม่นับแต่โบราณจนถึงปัจจุบันได้หล่อหลอมขึ้นมามีทั้งความเชื่อดั้งเดิมเรื่องผีบรรพบุรุษ ผีเสื้อเมือง และปรัชญาทางศาสนาพุทธเข้าด้วยกันจนกลายเป็นเอกลักษณ์ประจำท้องถิ่น โดยสะท้อนออกมาทางงานประเพณี และเทศกาลต่าง ๆ ที่จัดกันเป็นประจำทุกปี จนทำให้มีชื่อเสียง และดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาเยือนจังหวัดเชียงใหม่อย่างไม่ขาดสาย เรียกได้ว่าเที่ยวเชียงใหม่ครั้งเดียวไม่เคยพอเพราะจังหวัดเชียงใหม่มาเที่ยวได้ทั้งปี
งานประเพณียี่เป็งเชียงใหม่ ประเพณีภาคเหนือ เทศกาลเชียงใหม่ งานประเพณีปล่อยโคมลอยสู่ท้องฟ้าที่มีความอลังการที่สุดของเมืองไทย ซึ่งจัดในช่วงเทศกาลลอยกระทงช่วงเดือนพฤศจิกายน โดยคุณต้องไม่พลาดกับบรรยากาศการปล่อยโคมยี่เป็งนับพันพันดวงขึ้นสู่ท้องฟ้าที่สวยจับใจ พร้อมกับชมขบวนแห่โคมยี่เป็ง ขบวนแห่กระทง, การจุดพลุดอกไม้ไฟ, การประกวดกระทง หรือจะร่วมเชียร์การประกวดหนูน้อยนพมาศ แลัการประกวดเทพีและเทพบุตรยี่เป็งเชียงใหม่ รวมไปถึงชมการแสดงทางวัฒนธรรมภาคเหนืออีกมากมาย
งานไม้แกะสลักบ้านถวาย ประเพณีของภาคเหนือ จัดขึ้นในราวเดือนมกราคม ที่หมู่บ้านถวาย อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ในงานมีการสาธิตแกะสลักไม้ และจำหน่ายหัตถกรรมพื้นบ้านของเชียงใหม่
งานประเพณียี่เป็งเชียงใหม่ ประเพณีภาคเหนือ เทศกาลเชียงใหม่ งานประเพณีปล่อยโคมลอยสู่ท้องฟ้าที่มีความอลังการที่สุดของเมืองไทย ซึ่งจัดในช่วงเทศกาลลอยกระทงช่วงเดือนพฤศจิกายน โดยคุณต้องไม่พลาดกับบรรยากาศการปล่อยโคมยี่เป็งนับพันพันดวงขึ้นสู่ท้องฟ้าที่สวยจับใจ พร้อมกับชมขบวนแห่โคมยี่เป็ง ขบวนแห่กระทง, การจุดพลุดอกไม้ไฟ, การประกวดกระทง หรือจะร่วมเชียร์การประกวดหนูน้อยนพมาศ แลัการประกวดเทพีและเทพบุตรยี่เป็งเชียงใหม่ รวมไปถึงชมการแสดงทางวัฒนธรรมภาคเหนืออีกมากมาย
งานไม้แกะสลักบ้านถวาย ประเพณีของภาคเหนือ จัดขึ้นในราวเดือนมกราคม ที่หมู่บ้านถวาย อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ในงานมีการสาธิตแกะสลักไม้ และจำหน่ายหัตถกรรมพื้นบ้านของเชียงใหม่
เทศกาลชมสวนอุทยานหลวงราชพฤกษ์ เทศกาลเชียงใหม่ ประเพณีภาคเหนือ จุดเริ่มจากความโด่งดังมาจากการจัดงานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ งานเทศกาลชมสวน หรือ Flora Festival ซึ่งจะจัดขึ้นในช่วงเดือนธันวาคมถึงกุมภาพันธ์ จะมีการจัดแสดงสวนสวยในรูปแบบต่าง ๆ โดยมีการตกแต่งด้วยไม้ประดับ และดอกไม้เมืองหนาวนานาพรรณจากโครงการหลวงกว่า 20 โครงการ และที่มีชื่อเสียงที่สุดคืออุทยานกล้วยไม้ และอุโมงค์ดอกไม้ที่เป็นจุดถ่ายภาพยอดนิยมของนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่
งานฤดูหนาวเชียงใหม่ และงานกาชาดเชียงใหม่ ประเพณีภาคเหนือจัดขึ้นช่วงปลายธันวาคมถึงต้นมกราคม เป็นอีกหนึ่งงานหนึ่งที่ขาดไม่ได้สำหรับที่นี่ เพราะเป็นงานมหกรรมสินค้าพื้นเมือง และงานออกร้านที่รวบรวมทั้งอาหารพื้นเมืองแสนอร่อย ของฝากของที่ระลึก และสินค้าโอท็อปของเชียงใหม่มาประชันกันอย่างคับคั่ง โดยมีไฮไลท์ของงานคือการประกวดนางสาวเชียงใหม่ รวมถึงการแสดงคอนเสิร์ตจากศิลปินชื่อดังมากมายที่มาร่วมส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่กันในงาน
งานเทศกาลร่มบ่อสร้างเชียงใหม่ และหัตถกรรมสันกำแพง ประเพณีภาคเหนือ เทศกาลเชียงใหม่ จะจัดขึ้นในช่วงเดือนมกราคมหลังจากจบงานฤดูหนาวเชียงใหม่ได้ไม่นาน เป็นการจัดงานในลักษณะของถนนคนเดินที่มีการออกร้าน และการตกแต่งบ้านเรือนด้วยร่มพื้นเมืองสีสันสวยงามตั้งแต่ทางเข้าหมู่บ้านไปจนถึงท้ายหมู่บ้านยาวกว่าหนึ่งกิโลเมตร นอกจากนี้ยังมีขบวนแห่รถประดับร่ม การประกวดธิดาบ่อสร้าง และการแสดงวัฒธรรมพื้นบ้าน
งานตรุษจีนไชน่าทาวน์เมืองเชียงใหม่ เทศกาลเชียงใหม่จะจัดในช่วงฉลองตรุษจีนประมาณปลายมกราคมหรือต้นกุมภาพันธ์ อีกหนึ่งงานที่เป็นความภูมิใจของชาวไทยเชื้อสายจีนจังหวัดเชียงใหม่ มีการออกร้านและประดับประดาโคมไฟแบบจีน มีการแสดงศิลปวัฒนธรรมจีน มีการประกวดตี๋-หมวยสวยเก่ง มีการประกวดมิสเชียงใหม่ไชน่าทาวน์ และอย่าลืมไปลิ้มรสอาหารจีนที่ภัตาคารจีนชื่อดังหลายร้านในเชียงใหม่เตรียมมาให้ชิมเพียบ
ประเพณีเข้าอินทขิล ประเพณีภาคเหนือ ประเพณีเข้าอินทขิล จะเป็นประเพณีที่ชาวเชียงใหม่ปฏิบัติ และสืบทอดกันมาช้านานแล้ว เมื่อถึงเดือนพฤษภาคมไปจนถึงต้นเดือนมิถุนายน ซึ่งตรงกับ วันแรม 13 ค่ำ เดือน 8 ซึ่งเรียกว่า “วันเข้าอินทขิล” ในระหว่างนี้ ชาวเชียงใหม่ จะร่วมกันประกอบพิธี บูชาอินทขิล ที่เป็นเสาหลักเมือง ซึ่งอยู่ที่วัดเจดีย์หลวง ใจกลางเมืองเชียงใหม่ การประกอบพิธีบูชาเสาอินทขิลนี้ก็เพื่อให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุขในบ้านเมือง
สงกรานต์ภาคเหนือ เทศกาลเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ที่มีผู้คนจากทั่วทุกสารทิศทั้งชาวไทยและชาวต่าง ชาติไปเที่ยวงานสงกรานต์มากเป็นอันดับต้น ๆ ของประเทศ และที่สำคัญที่นี่นั้นยังมากด้วยคนหนุ่มสาวหน้าตาดี ๆ เยอะแยะไปหมด ที่มาเที่ยวที่นี่ก็เลยสุขใจสบายตากันไปตามระเบียบนอกจากการเล่นน้ำสงกรานต์แล้ว นอกจากนี้ที่นี่ยังมีกิจกรรมสำคัญอื่นๆที่น่าสนใจอีกเพียบเลย ไม่ว่าจะเป็นการจัดขบวนแห่ และสรงน้ำพระพุทธสิหิงค์ ขี่รถถีบกาลางจ้อง การสาธิตศิลปะพื้นบ้าน การแสดงพื้นเมือง รดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ ขนทรายเข้าวัด การเล่นน้ำสงกรานต์ ปีใหม่เมืองรอบคูเมือง ถนนวัฒนธรรมคนเมืองอาหารนานาชาติ ฯลฯ
ประเพณีแห่ไม้ค้ำโพธิ์ ประเพณีภาคเหนือ ซึ่งจัดขึ้นในเดือนเมษายน ในวันที่ 15 เป็นต้นไป ของทุกปี ในบริเวณตัวเมืองจอมทอง มีขบวนรถจากชุมชน ห้างร้าน กลุ่มต่างๆ กว่า 40 ขบวน แห่ไปตามเมืองจอมทอง อำเภอจอมทอง จนถึง วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร นับเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมานานกว่า 200 ปี ตามตำนานเกิดขึ้นที่ อำเภอเภอจอมทอง และถือเป็นแห่งแรกของประเทศไทย และแห่งเดียวในโลก ประเพณีแห่ไม้ค้ำโพธิ์ นั้นกลายเป็นต้นแบบของการแห่ไม้ค้ำสะหลีของชาวล้านนา จนกระทั่งได้รับความนิยมไปทั่วภาคเหนือ และเป็นประเพณีที่เริ่มมีชื่อเสียงโด่งดัง และได้รับความนิยมอย่างมาก
มหกรรมไม้ดอกไม้ประดับ เทคศกาลเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ มีดินแดนถิ่นไทยงาม มีความสดสวยด้วยธรรมชาติ มีป่าเขาลําเนาไพร มีความพร้อมดอกไม้นานาพันธุ์ มีน้ำตก ต้นน้ำลําธารของแม่น้ำสายสําคัญ และความงามตามธรรมชาติ เพื่ออนุรักษ์ความงามตามธรรมชาติอันเป็นเอกลักษณ์ของเมืองเชียงใหม่ ชาวเชียงใหม่ จึงได้ร่วมกันปลูกพันธุ์ไม้ตามสถานที่ต่าง ๆ เพื่อสร้างจังหวัดเชียงใหม่ให้เป็น "เมืองดอกไม้บานตลอดปี" เป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยว และการส่งเสริมอาชีพให้กับเกษตรกรที่สําคัญอีกอย่างหนึ่ง จึงได้กําหนดให้มีการจัดงาน "มหกรรมไม้ดอกไม้ประดับ" ซึ่งถือเป็นงานประเพณีอันสําคัญอีกงานหนึ่งของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นที่จัดต่อเนื่องสืบทอดเป็นประจําทุกปี งานจะจัดขึ้นในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ ณ สวนสาธารณะหนองบวกหาด อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ในงานจะมีการประกวดนางงามบุปผชาติและขบวนแห่บุปผชาติ นิทรรศการทางการเกษตร การประกวดจัดสวน การประกวดไม้ดอกไม้ประดับประเภทต่าง ๆ และการออกร้านของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร
ประเพณีการเลี้ยงขันโตก ประเพณีของภาคเหนือ เป็นประเพณีเลี้ยงอาหารร่วมกันหลาย ๆ คน เป็นวัฒนธรรม และประเพณีของชาวเหนือที่สืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบันโดยเฉพาะที่เชียงใหม่ และลำพูน อาหารขันโตก ประกอบด้วย ข้าวนึ่งหรือข้าวเหนียว, ไส้อั่ว, แคบหมู, แกงอ่อม แกงฮังเล, น้ำพริกอ่อง, ลาบ และผักต่าง ๆ ตลอดจนของหวานต่าง ๆ ซึ่งอาหารเหล่านี้จะตักใส่ถ้วยเล็ก ๆ วางไว้ในขันโตกจนครบ แล้วใช้ฝาชีครอบไว้จนกว่าพิธีแห่ขันโตกจะเสร็จ การแห่ขันโตก
ลักษณะเด่นของอาหารเหนือ สำหรับเอกลักษณ์ของอาหารเหนือ คือ อาหารภาคเหนือไม่นิยมใส่น้ำตาล ความหวานของอาหารจะได้จากส่วนผสมที่นำมาทำอาหาร ไม่ว่าจะเป็น ผัก ปลา ไขมันจะได้จากน้ำมันของสัตว์ เป็นต้น อาหารพื้นบ้านภาคเหนือ มีความพิเศษตรงที่มีการผสมผสานวัฒนธรรมการกินจากหลายกลุ่มชน คนภาคเหนือจะรับประทานข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก อาหารไทยภาคเหนือ ภาคเหนือ เป็นดินแดนที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาตั้งแต่ครั้งในอดีตเป็นดินแดนแห่งประวัติศาสตร์ ศิลปะวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ในอดีตบริเวณภาคเหนือของไทยเคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านนามาก่อน
ประเพณีงานปอยหลวง ประเพณีภาคเหนือเป็นงานทำบุญเพื่อเฉลิมฉลองศาสนสมบัติต่าง ๆ เพื่อให้เกิดอานุสงส์แก่ตนและครอบครัว ถือว่าได้บุญกุศลแรงมาก นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องแสดงถึงความสามัคคีกลมเกลียวของคณะสงฆ์และชาวบ้านด้วยเพราะเป็นงานใหญ่ การทำบุญปอยหลวงที่นิยมทำกันคือทำบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้พ่อแม่ ปู่ย่าตายาย หรือญาติพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้วก็ได้ ช่วงเวลา จากเดือน 5 จนถึงเดือน 7 เหนือ (ตรงกับเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนเมษายนหรือเดือนพฤษภาคมของทุกปี) ระยะเวลาประมาณ 3-7 วัน
ประเพณีกินวอ ประเพณีภาคเหนือ ประเพณีปีใหม่ของชาวลาหู่ ซึ่งจะตรงกับเดือนมกราคมของทุก ๆ ปี ซึ่งประเพณีกินวอนี้ จะมีการทำขนม คือ ขาวปุก และมีการนำต้นสน 4 ต้นมาปลูกกลางลานของหมู่บ้านให้ได้เป็น 4 เหลี่ยม และมีการสานตระแกรงโดยใช้ไม้สานแล้วนำมาไว้ตรงกลางระหว่างต้นสนทั้ง 4 ต้น แล้วนำเอาอาหารที่ชาวบ้านถือว่าเป็นอาหารบวงสรวงมาไว้ที่ตะแกรงนั้น ซึ่งจะได้แก่ หัวหมู ข้าวปุก อาหารและดอกไม้ต่าง ๆ การจัดประเพณีกินวอของแต่ละหมู่บ้านให้ใกล้เคียงกับหมู่บ้านอื่นที่ใกล้เคียงกัน เพราะว่าเพื่อให้หมู่บ้านอื่น ๆ มาร่วมกันซึ่งจะเวียนกันไปแต่ละหมู่บ้านเริ่มพร้อมกัน และสิ้นสุดพร้อมกัน ในตอนกลางวันในวันที่มีการรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ในหมู่บ้าน
ประเพณีลอยพระอุปคุต ประเพณีภาคเหนือ ประเพณีของชาวไทยใหญ่ ในอำเภอแม่อาย จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 ของทุกปีตามความเชื่อของล้านนาและชาวไทยใหญ่เชื่อกันว่าพระอุปคุตนั้นสิงสถิตอยู่ใต้แม่น้ำ หรือสะดือทะเล การลอยบูชาจะเริ่มตั้งเเต่ ขึ้น 14 ค่ำ และวันขึ้น 15 ค่ำ โดยขบวนเเห่พระอุปคุตจะเริ่มตั้งเเต่วัดเเม่อายหลวง อ.เเม่อาย จ.เชียงใหม่ แล้วจึงนำไปลอยในเเม่น้ำกก ณ ท่าเรือบ้านท่าตอน หมู่ 3 ตำบลท่าตอน อำเภอเเม่อาย จังหวัดเชียงใหม่
ประเพณีโล้ชิงช้า หรืองานเทศกาลปีใหม่โล้ชิงช้าของชาวอาข่า (อีก้อ) ประเพณีภาคเหนือ จัดขึ้นในวันที่ 1 สิงหาคม 2557 - 30 กันยายน 2557 เป็นการรำลึกถึงพระคุณแห่งเทพธิดา "อึ่มซาแยะ" ผู้ประทานความชุ่มชื้นอุดมสมบูรณ์ให้กับพืชพันธุ์ธัญญาหาร และเพื่อเป็นการฉลองให้กับพืชผลที่มีความเจริญงอกงามรอเก็บเกี่ยว รำลึกและให้เกียรติสตรี พิธีเซ่นไหว้บรรพบุรุษ, การเลี้ยงฉลอง, การเต้นรำ ซึ่งแต่ละชุมชนจะไม่ตรงกัน เนื่องจากการกำหนดวันจัดพิธีกรรมต้องดูความเหมาะสมของวันที่จะเริ่มทำพิธี แต่จะต้องเป็นวันดีและเข้ากันได้กับผู้นำชุมชนนั้น ๆ
หมวดหมู่: ศิลปะ วัฒนธรรม และแหล่งมรดก
กลุ่ม: ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี
ปรับปรุงล่าสุด : 11 เดือนที่แล้ว